ผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ดูแลอย่างไร ทานอาหารและใช้ชีวิตอย่างไรให้ดี
• ผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ดูแลอย่างไรดี
• ผู้ป่วยสูงวัย ออกกำลังกาย และดูแลตัวเองอย่างไร
• ดูแลจิตใจ เพิ่มกำลังใจอย่างไร
• ผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ดูแลอย่างไรดี
• ผู้ป่วยสูงวัย ออกกำลังกาย และดูแลตัวเองอย่างไร
• ดูแลจิตใจ เพิ่มกำลังใจอย่างไร
💭 ยาพุ่งเป้า
💭 สูตรยาต่างๆ
💭 ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ทำอย่างไร
💭 ระยะสุดท้าย ดูแลอย่างไร
💭 ทานอะไรแล้วดี
เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดแบ่งตัวช้า เกิดจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ โดยมีความผิดปกติเกิดขึ้นระหว่างเดินทางในกระแสเลือดจนกลายเป็นมะเร็ง
แนวทางการรักษาแต่ละระยะ การตอบสนอง และการดูแล กินอาหารดี ทำกิจกรรมที่เหมาะ กับปัจจุบัน และผ่อนคลาย
มะเร็ง MM เกิดจากการกลายพันธุ์ของเม็ดเลือด มาดูกันว่ากลายพันธุ์อย่างไรบ้าง
แล้วอาการ CRAB คืออะไร
ชวนทำความเข้าใจลำไส้เปิดหน้าท้อง (ทวารใหม่/ทวารเทียม)
💩 ลักษณะอุจจาระบอกอะไร และควรปรับอย่างไร ใช้ถุงรองรับแบบไหนดี ตัดแป้นรองถุงอย่างไร ทำอย่างไรเมื่อเป็นแผล
🚿 อาบน้ำ ทำงาน ใส่เสื้อผ้า ทานอาหาร ออกกำลังอย่างไรดี
✨ ดูแลลำไส้เปิดอย่างไรในชีวิตประจำวัน อุปกรณ์เสริมมีอะไรบ้าง
💭 มีอาการแบบนี้ทำอย่างไรดี
💡 เทคนิคใส่ถุงทวาร
✨ ดูแลทวารใหม่อย่างไร
💬 วิธีรักษาแบบต่างๆ ต่างกันอย่างไร
💭 มีอาการแบบนี้ทำอย่างไรดี
✨ ดูแลทวารใหม่อย่างไร
🥗 กินอย่างไรดี
✨ สิ่งสงสัยหลังการรักษา
คุณสมบัติ ประธานชมรมมะเร็งลำไส้ใหญ่ฯ จะพาเราค่อยๆ เรียนรู้เรื่องทวารใหม่
🥗 กินอะไรได้บ้าง กินอย่างไรให้รู้สึกสบาย
🚿 อาบน้ำ ยกของอย่างไร ออกกำลังกายได้ไหม
✨ แนะนำอุปกรณ์เสริม เพื่อชีวิตที่สบายขึ้น
เมื่อคุณหมอเสนอทวารเทียม ผู้ป่วยหลายคนอาจจะรู้สึกกังวลทั้งก่อนผ่าตัด การเปลี่ยนของร่างกายหลังจากใส่ทวารเทียม รวมไปถึงมองไม่ชัดว่าจะปรับตัว ปรับใจ และใช้ชีวิตเมื่อมีถุงทวารเทียมได้อย่างไร
เราจะพาไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับทวารเทียมกัน รวมไปถึงแนะนำวิธีการปรับตัว ปรับใจ ให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
ผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี
💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง
🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง
💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง
🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
เมื่อคุณหมอเสนอทวารเทียม ผู้ป่วยหลายคนอาจจะรู้สึกกังวลทั้งก่อนผ่าตัด การเปลี่ยนของร่างกายหลังจากใส่ทวารเทียม รวมไปถึงมองไม่ชัดว่าจะปรับตัว ปรับใจ และใช้ชีวิตเมื่อมีถุงทวารเทียมได้อย่างไร
เราจะพาไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับทวารเทียมกัน รวมไปถึงแนะนำวิธีการปรับตัว ปรับใจ ให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น เบค่อน แฮม ไส้กรอก เป็นสารก่อมะเร็ง
เช่นเดียวกับบุหรี่ แร่ใยหิน เหล้า และสารหนู
ส่วนเนื้อแดง คือ เนื้อวัว เนื้อแกะ และเนื้อหมูนั้น น่าจะเป็นสารก่อมะเร็ง
หากมีการดูแลทวารเทียมของตนอย่างไม่ถูกวิธี ก็อาจนำไปสู่ ‘ภาวะแทรกซ้อน’ ต่าง ๆ ได้
#ลำไส้ศาสตร์ จึงขอมาแนะนำวิธีป้องกัน 5 ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดทวารเทียมค่ะ 🌷😙
เคมีบำบัด (Chemotherapy) หรือการทำคีโมเป็นการรักษาเสริม ซึ่งจะทำก่อนหรือหลังผ่าตัด โดยผู้ป่วยอาจพบกับผลข้างเคียงต่างๆ และมักไม่แน่ใจว่าควรรับมืออย่างไรดี?
วันนี้ #ลำไส้ศาสตร์ ขอพาทุกคนไปรู้จัก 6 ผลข้างเคียงหลักๆ จากการทำเคมีบำบัด พร้อมกับการรับมือง่ายๆ อย่างถูกวิธีกัน
มะเร็งไม่ใช่แค่เนื้อร้ายทำลายเซลล์ แต่ยังส่งผลต่อภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
หนึ่งในอาการข้างเคียงที่พบบ่อย คือ “นน.ตัวลดลง”
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยนน.ตัวลดลง ?
การกินมีผลกับการรักษาอย่างไร ?
วิธีผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่..ในปัจจุบัน
วิธีหลักในการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่คือการผ่าตัด เพื่อเอาก้อนเนื้อหรือลำไส้ส่วนที่มะเร็งลุกลามออก แล้วใช้เคมีบำบัดหรือการฉายแสงร่วม การผ่าตัดมีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ การผ่าตัดแบบเปิด และการผ่าตัดแบบเจาะรูส่องกล้อง
ตรวจคัดกรอง และการรักษามะเร็งลำไส้
• ป้องกันได้อย่างไร
• แนวทางการรักษา
• แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้
• เสวนาไขข้อข้องใจ Q&A
ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ควรเลือกทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย ไขมันน้อย แต่ให้คุณค่าทางอาหารสูง และควรได้รับอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันภาวะขาดสารอาหาร เช่น เนื้อปลา เนื้อไม่ติดมัน เป็นต้น
มาดูกันว่าอาหารแบบไหนที่ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ควรเลี่ยง
โครงการ Cancer Academy หัวข้อ รู้ทัน..เข้าใจ..ดูแลตัวเองอย่างไรเมื่อเป็น…มะเร็งเม็ดเลือดขาวมัลติเพิลมัยอิโลมา (Multiple Myeloma : MM)
ภาวะน้ำหนักเกินเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดเนื้องอกลำไส้ เนื่องจากฮอร์โมนอินซูลินที่ทำหน้าที่ควบคุมน้ำตาลในเลือด และฮอร์โมนเลปตินที่ควบคุมการเติบโตของเซลล์ในลำไส้ใหญ่และความอยากอาหารทำงานผิดปกติไป จนอาจทำให้เกิดเนื้องอกลำไส้ได้
ผู้ป่วยมะเร็งต้องเผชิญกับอารมณ์มากมาย ทั้งความเศร้า ความเครียด ความวิตกกังวล ความกลัวที่จะกลับมาเป็นซ้ำ
ชวนมาเข้าใจ แล้วพาเค้าและตัวเราออกมาเห็นทางที่สว่างขึ้นกัน
นวัตกรรมในการคัดกรองและความก้าวหน้าในการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่
· มะเร็งลำไส้ใหญ่ป้องกันได้อย่างไร
· มะเร็งลำไส้ใหญ่รักษาได้จริงเหรอ ?
· เสวนาไขข้อข้องใจ Q&A
· แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่
“ทวารเทียม” มาจากการผ่าตัดช่องเปิดลำไส้ทางหน้าท้อง เพื่อเป็นช่องขับถ่ายอุจจาระ ในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ ผู้ป่วยหลายคนอาจกังวลว่าพอมีทวารเทียมแล้วจะใช้ชีวิตแบบปกติไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องกลิ่น การมีถุงรับของเสียที่หน้าท้อง การรักษาความสะอาด เป็นต้น
แต่ความจริงแล้ว ถ้าเรารู้วิธีดูแลตัวเองและฝึกจนคุ้นชิน
แม้จะมีทวารเทียม ก็สามารถใช้ชีวิตอย่างคล่องตัวได้ค่ะ
โดยมากจะเกิดมาจากพฤติกรรมการกินกับการใช้ชีวิต โรคประจำตัวบางโรค และสารพิษรอบตัวของผู้ป่วยเอง แต่จากการศึกษาพบว่า มีความเสี่ยง 5-10% ที่โรคนี้จะถ่ายทอดมาจากพันธุกรรม
ริดสีดวงทวาร กับมะเร็งลำไส้ เป็นโรคที่มีความรุนแรงต่างกัน แต่มีอาการหนึ่งที่คล้ายกัน คือ ถ่ายเป็นเลือด 🚽
แยกเบื้องต้นได้โดย สังเกตจากลักษณะการขับถ่าย และอาการร่วม แล้วคอนเฟิร์มให้แน่ใจด้วยการตรวจยืนยันกับแพทย์ค่ะ
ชวนทำความเข้าใจ “อาการเสี่ยงมะเร็งลำไส้” พร้อมคำแนะนำในการ “ตรวจคัดกรอง”
รวมถึงทำความเข้าใจระยะต่างๆ ของมะเร็งลำไส้ ตรวจได้ที่ไหน และสิทธิการรักษาเป็นอย่างไร
หากมีการดูแลทวารเทียมของตนอย่างไม่ถูกวิธี ก็อาจนำไปสู่ ‘ภาวะแทรกซ้อน’ ต่าง ๆ ได้
#ลำไส้ศาสตร์ จึงขอมาแนะนำวิธีป้องกัน 5 ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดทวารเทียมค่ะ 🌷😙
เพื่อให้เข้าใจ เรียนรู้ รับมือได้ทัน กับโรคมะเร็งลำไส้ และถุงทวารเทียม รวมถึงการปรับตัวปรับใจเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสิ่งที่ต้องการให้ช่วยเหลือ
☀️ ปัญหาที่พบบ่อยเมื่อมีทวารเทียม
☀️ ทวารเทียมกับแผลเปิดหน้าท้องดูแลอย่างไร
☀️ การปรับกิจวัตรประจำวันเพื่อใช้ชีวิตอยู่กับทวารเทียม