The Last Life Lesson | ‘ความเจ็บปวดและความทรมานครั้งสุดท้าย’
เรียนรู้วิธีการจัดการความเจ็บปวดอย่างถูกวิธี
ลดความเจ็บปวดด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งการให้มอร์ฟีน การหยุดยา อดน้ำอดอาหาร ที่ช่วยในการบรรเทาความปวดที่เกิดขึ้น
เรียนรู้วิธีการจัดการความเจ็บปวดอย่างถูกวิธี
ลดความเจ็บปวดด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งการให้มอร์ฟีน การหยุดยา อดน้ำอดอาหาร ที่ช่วยในการบรรเทาความปวดที่เกิดขึ้น
“ในคัมภีร์พุทธศาสนา พูดถึงเสมอว่า อย่างไรเป็นการตายที่ดี ท่านมักใช้คำสั้นๆ ว่า “มีสติไม่หลงตาย” และที่ว่าตายดีนั้น ไม่ใช่เฉพาะตายแล้วจะไปสู่สุคติเท่านั้น แต่ขณะที่ตายก็เป็นจุดสำคัญ ที่ว่าต้องมีจิตใจที่ดี คือมีสติไม่หลงตาย”
ถ้าเรากำลังดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่สมดุล เปรีบบเทียบกับตราชั่งแล้ว ก็เหมือนฝั่งใดฝั่งหนึ่งมีน้ำหนักมากกว่า เราจึงต้องออกแรงเพื่อให้ของบนตราชั่งนั้นดำรงอยู่ได้ โดยไม่หล่นลงมา
แต่หากเราใช้ชีวิตอย่างสมดุล เราก็จะเบาสบายมากขึ้น ไม่ต้องออกแรงเยอะตลอดเวลา
“ฉันมีเพียงความมุ่งหมายเดียวในการรับฟังเขาเท่านั้น
คือ การให้โอกาสในการที่เขาจะบรรเทาความทุกข์ลง”
เมื่อกล่าวถึงการสื่อสารเพื่อความเข้าใจ เรามักอาจจะคิดถึงเรื่องเทคนิควิธีการพูด แต่กุญแจที่สำคัญมากของเรื่องนี้เริ่มต้นจาก “การฟัง” อย่างมีคุณภาพ
เข้าใจ รับรู้ความรู้สึกของผู้ป่วย และฝึกสื่อสารด้วยหัวใจ
ทะนุถนอมใจกันและกัน อย่างอ่อนโยน จากใจที่มั่นคง
เมื่อเราเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างเรากับความเจ็บปวด ก็จะช่วยบรรเทาความทุกข์ทรมานลงได้ มาดูกันว่าทำได้อย่างไร
ความรู้สึกขอบคุณ มักมาพร้อมกับ
ความชื่นชมยินดี และชั่วขณะแห่งความสุข
สิ่งง่ายๆ ที่เราสามารถทำได้ในทุกวัน
ไม่ว่าเราจะไปไหน ทำอะไรก็ตาม
สิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่เราได้เชื่อมโยงสัมพันธ์ ล้วนส่งผลอะไรบางอย่างกับเราไม่มากก็น้อย ทั้งโดยตรงและโดยที่เราอาจไม่รู้ตัว ไม่ว่าจะเป็นผู้คน เหตุการณ์ หรือข้าวของต่างๆ ที่อยู่รายรอบ
ชวนสำรวจดูแลใจกันด้วย “การเก็บกวาดบ้าน” ในแบบที่จะมีความหมายมากกว่าที่เคย และยังส่งผลที่ดีต่อจิตใจเราได้อีกด้วย
เรามักคุ้นเคยกับคำว่าสงสารและเห็นใจ คนป่วยจำนวนมากไม่ชอบความสงสารและเห็นใจ แต่ต้องการความเข้าใจมากกว่า เข้าใจในอารมณ์ความรู้สึกและความต้องการที่เขากำลังเผชิญอยู่ หากจะให้ความช่วยเหลือก็ต่อเมื่อเขาร้องขอหรือยอมรับ มิใช่การยัดเยียดหรือบังคับ
ตอนกลางคืน ยามเราหลับสนิท ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนที่ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย (มะเร็งก็ถือเป็นเซลล์ที่สึกหรอ)
อีกทั้งหากนอนดี ภูมิคุ้มกันจะทำงานได้ดี ทำให้จัดการเซลล์มะเร็งได้ดีขึ้น . .
อยากเรียนรู้ดูแลจิตใจ อยากฝึกสมาธิ แต่ไม่มีเวลาไปเข้าคลาส ไม่อยากไปเข้าวัด…เชื่อว่าหลายคนคงประสบปัญหาที่คล้ายคลึงกันนี้ เราจึงอยากแนะนำตัวช่วยน่ารักๆ ที่เข้าถึงได้ง่าย ใกล้ตัว แถมพึ่งพาได้แทบจะทุกที่ ทุกเวลา เพื่อเป็นตัวเลือกให้ทุกคนสามารถนำไปใช้ดูแลตัวเองกัน
กินอาหารไม่ดี 10 วัน ทำให้แบคทีเรียที่ต่อสู้กับโรคอ้วน เบาหวาน และมะเร็ง ล้มหายตายจากไปได้ถึง 40%
มาดูกันว่า เมื่อกินแมคโดนัลด์ต่อเนื่องทุกมื้อเป็นเวลา 10 วัน จะมีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้นบ้างกับแบคทีเรียในลำไส้ . .
ตอนกลางคืน ยามเราหลับสนิท ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนที่ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย (มะเร็งก็ถือเป็นเซลล์ที่สึกหรอ)
อีกทั้งหากนอนดี ภูมิคุ้มกันจะทำงานได้ดี ทำให้จัดการเซลล์มะเร็งได้ดีขึ้น . .
โยเกิร์ตโฮมเมด ไม่ใส่น้ำตาล ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ตัวดีในลำไส้ได้ ทำให้สุขภาพและลำไส้แข็งแรง เสริมภูมิคุ้มกัน
ผักสลัดใช้เป็นคอสหรือผักสลัด หรือพืชหัว หรืออยากใช้อะไรก็ได้แล้วแต่มี ถ้าจะต้มหรือลวกสามารถให้พืชหัว ฟักทอง มะเขือ อะไรๆ แทนได้หมดเลย
ข้าวคลุกขมิ้นแสนอร่อย พร้อมเครื่องเคียงเสริมภูมิคุ้มกัน และเพิ่มสารอาหารที่ดีให้ร่างกาย
เพียงแค่ผัดข้าว ผัดเครื่องเคียงหนึ่งอย่าง แล้วจัดวางผักและถั่วเคียงจาน ก็หอมกรุ่น พร้อมทานค่า ^^
เพียงเราได้พัก แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ก็จะเป็นผลดีกับเราได้อย่างแน่นอน
. .
มาดูเทคนิคการเริ่มต้น “พัก” แบบง่าย ๆ ไปด้วยกัน
ในยามที่เราเจ็บป่วยทางกาย ล้วนส่งผลกับความรู้สึกและจิตใจของเรา
สภาพจิตใจที่หม่นหมอง เป็นทุกข์ หรือตึงเครียด ก็ส่งผลให้เกิดความเจ็บป่วยทางร่างกายได้
. .
นักวิทยาศาสตร์เอง ก็สังเกตเห็นถึงความสัมพันธ์เหล่านี้เหมือนกัน
สูตรนี้อร่อยมากๆ เป็นหนึ่งในสูตรมัฟฟินแบบคาวที่ได้รับการชมมากที่สุด เมื่อครั้งไปร่วมออกงานเกษตรอินทรีย์ที่อู่ทอง โดยเชฟหนิง ซึ่งได้ทดลองและสนุกกับการลองทำมากๆ
อีกทั้งยังใช้ส่วนผสมที่เป็นมิตรต่อสุขภาพมากๆ ด้วย
มาดูกันว่าเราจะป้องกันโรคมะเร็งได้หรือไม่ แล้วปัจจัยเสี่ยงมะเร็งที่พบบ่อยมีอะไรบ้าง
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็งได้ หรือลดโอาสเกิดมะเร็งได้ เราสามารถเลี่ยงอาหารบางชนิดได้ โดยเสริมสารอหารให้ครบถ้วนจากอาหารอื่นๆ ได้
เราจะสังเกตตัวเองก่อนได้ไหมว่าเป็นมะเร็งรึเปล่า แล้วอาการที่มีอยู่นี่เป็นมะเร็งไหมนะ มาทำความเข้าใจกันง่ายๆ ได้เลย
ชวนทำความเข้าใจลำไส้เปิดหน้าท้อง (ทวารใหม่/ทวารเทียม)
💩 ลักษณะอุจจาระบอกอะไร และควรปรับอย่างไร ใช้ถุงรองรับแบบไหนดี ตัดแป้นรองถุงอย่างไร ทำอย่างไรเมื่อเป็นแผล
🚿 อาบน้ำ ทำงาน ใส่เสื้อผ้า ทานอาหาร ออกกำลังอย่างไรดี
✨ ดูแลลำไส้เปิดอย่างไรในชีวิตประจำวัน อุปกรณ์เสริมมีอะไรบ้าง
คุณสมบัติ ประธานชมรมมะเร็งลำไส้ใหญ่ฯ จะพาเราค่อยๆ เรียนรู้เรื่องทวารใหม่
🥗 กินอะไรได้บ้าง กินอย่างไรให้รู้สึกสบาย
🚿 อาบน้ำ ยกของอย่างไร ออกกำลังกายได้ไหม
✨ แนะนำอุปกรณ์เสริม เพื่อชีวิตที่สบายขึ้น
เมื่อคุณหมอเสนอทวารเทียม ผู้ป่วยหลายคนอาจจะรู้สึกกังวลทั้งก่อนผ่าตัด การเปลี่ยนของร่างกายหลังจากใส่ทวารเทียม รวมไปถึงมองไม่ชัดว่าจะปรับตัว ปรับใจ และใช้ชีวิตเมื่อมีถุงทวารเทียมได้อย่างไร
เราจะพาไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับทวารเทียมกัน รวมไปถึงแนะนำวิธีการปรับตัว ปรับใจ ให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
บริจาคโลหิตแต่ละครั้ง ช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากกว่า 3 ชีวิต สามารถมาบริจาคที่สภากาชาดได้เลย คลิกดูเพิ่มเติม
• บริจาคเลือด เตรียมตัวอย่างไร บริจาคเลือดที่ไหนได้บ้าง
• อยากบริจาคสเต็มเซลล์ต้องทำอย่างไร
ผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี
💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง
🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง
💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง
🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับผู้ป่วยมะเร็ง
💭 อะไรกินได้ กินไม่ได้
💭 อะไรกินแล้วดี
💭 เม็ดเลือดจางทำอย่างไร
💭 ทานแล้วอาเจียนควรทำอย่างไร
ผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี
💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง
🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง
💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง
🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
ผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี
💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง
🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง
💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง
🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ