คลาย..ทุกเรื่องมะเร็ง
นานาสาระเพื่อการดูแล และอยู่ร่วมกับมะเร็ง
Cancer care tips
รับมือกับผลข้างเคียง
การรักษามะเร็งอาจมีผลข้างเคียงที่ทำให้ไม่สบายเนื้อตัวได้ เรามีวิธีแนะนำเบื้องต้นเพื่อบรรเทาอาการเหล่านั้น รวมถึงเข้าใจเรื่องพื้นฐานอย่างค่าเลือดต่างๆ ด้วย
อาหารการกิน กินอะไรดี
คำถามยอดฮิตเมื่อมีคนใกล้ตัวเป็นมะเร็งคือ เป็นมะเร็งกินอะไรได้บ้าง เราชวนมามองอีกมุมว่า “กินอะไรแล้วดีต่อร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยมะเร็ง”
สูตรอาหารแสนอร่อย
“เราอยากให้มีสูตรอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และอร่อยมากด้วย”
เราจึงชวนเชฟหนิงผู้รักสุขภาพ เพราะในบ้านมีเด็กวัยรุ่นที่กินแต่ของอร่อย มาช่วยทำสูตรให้ ^^
ดูแลใจ ดูแลกาย ไปด้วยกัน
ดูแลใจ ดูแลกาย ไปด้วยกัน
(Holistic Care)
ชวนมาดูแลตัวเองกันง่ายๆ
เหมาะกับทั้งผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ดูแล และบุคคลทั่วไป
ชวนทำ . . . ดีต่อใจ
กิจกรรมที่ลองชวนผู้ป่วยทำได้ ให้มีพลังชีวิต มีใจเบิกบาน
ดูแลใจ
เมื่อร่างกายเจ็บป่วยลง ก็อาจมีผลต่อจิตใจได้ และถ้าดูแลจิตใจดี ก็ส่งผลดีต่อร่างกายได้เช่นกัน
สื่อและองค์กรที่น่าสนใจ
สื่อแนะนำ
แนะนำหนังสือและวิดีโอ เข้าใจง่าย น่าอ่าน และดีต่อใจ เพื่อการสื่อสารที่ดี รับมือกับความไม่คาดหวังได้ เข้าใจกระบวนการของร่างกาย เป็นต้น
องค์กรที่น่ารู้จักไว้
องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องมะเร็ง และการดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพ
Palliative Care
การดูแลรักษาแบบประคับประคอง เรื่องน่าสนใจสำหรับผู้ป่วยระยะท้าย เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยและผู้ดูแล
ค่อยๆ รู้จักมะเร็ง
- จะป้องกันมะเร็งได้หรือไม่มาดูกันว่าเราจะป้องกันโรคมะเร็งได้หรือไม่ แล้วปัจจัยเสี่ยงมะเร็งที่พบบ่อยมีอะไรบ้าง
- สงสัยว่ามีอาการเหล่านี้เป็นมะเร็งได้หรือไม่เราจะสังเกตตัวเองก่อนได้ไหมว่าเป็นมะเร็งรึเปล่า แล้วอาการที่มีอยู่นี่เป็นมะเร็งไหมนะ มาทำความเข้าใจกันง่ายๆ ได้เลย
- คำถามที่ควรถามแพทย์ผู้รักษาก่อนที่ท่านจะไปพบแพทย์ ควรเตรียมตัวเกี่ยวกับข้อมูลที่จะถาม และพยายามให้การสื่อสารข้อมูลเป็นลักษณะแลกเปลี่ยนกันระหว่างท่านกับแพทย์
- วิธีพิชิตมะเร็งการรักษาโรคมะเร็ง ผู้ป่วยโดยมากมักมีความสับสนและขาดความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรค บางครั้งผู้ป่วยอาจเจอกับคำถามทั้งต่อตนเองและคนรอบข้าง เช่น ทำไมรักษาไม่เหมือนกัน ดังนั้นการเข้าใจในหลักการรักษามะเร็งจึงมีความสำคัญมาก
- เมื่อคนในครอบครัวเป็นมะเร็งบทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดความเข้าใจและมีมุมมองในการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง เพื่อให้ท่านสามารถปรับตัวและใจให้พร้อมที่จะรับมือกับโรคได้ดีขึ้น
- หนังสือ ทำความรู้จักโรคมะเร็งกันเถอะหนังสืออ่านง่าย เป็นกันเอง ทำให้เข้าใจโรคมะเร็ง การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นมะเร็ง และการป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากโรคมะเร็ง . . .
รับมือกับผลข้างเคียง
- บริจาคเลือด สภากาชาดไทยบริจาคโลหิตแต่ละครั้ง ช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มากกว่า 3 ชีวิต สามารถมาบริจาคที่สภากาชาดได้เลย คลิกดูเพิ่มเติม
• บริจาคเลือด เตรียมตัวอย่างไร บริจาคเลือดที่ไหนได้บ้าง
• อยากบริจาคสเต็มเซลล์ต้องทำอย่างไร - เข้าใจเรื่องเลือดเลือดช่วยลำเลียงอาหาร น้ำ ออกซิเจนไปทั่วร่างกาย ขณะเดียวกันก็นำสารพิษ ของเสีย และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายด้วย
มาดูกันว่าเม็ดเลือด เกล็ดเลือด สเต็มเซลล์ คืออะไร - รับมือได้ไม่ยาก กับผลข้างเคียงจากเคมีบำบัดเคมีบำบัด (Chemotherapy) หรือการทำคีโมเป็นการรักษาเสริม ซึ่งจะทำก่อนหรือหลังผ่าตัด โดยผู้ป่วยอาจพบกับผลข้างเคียงต่างๆ และมักไม่แน่ใจว่าควรรับมืออย่างไรดี? วันนี้ #ลำไส้ศาสตร์ ขอพาทุกคนไปรู้จัก 6 ผลข้างเคียงหลักๆ จากการทำเคมีบำบัด พร้อมกับการรับมือง่ายๆ อย่างถูกวิธีกัน
ดูแลใจ
- 6 วิธีดูแลจิตใจ ผู้ป่วยมะเร็งผู้ป่วยมะเร็งต้องเผชิญกับอารมณ์มากมาย ทั้งความเศร้า ความเครียด ความวิตกกังวล ความกลัวที่จะกลับมาเป็นซ้ำ ชวนมาเข้าใจ แล้วพาเค้าและตัวเราออกมาเห็นทางที่สว่างขึ้นกัน
- ยิ้มกว้างบนทางสายป่วยความทุกข์ไม่ได้เกิดจากโรคที่คุณเป็นนะ แต่เกิดจากการที่คุณไม่อยากเป็น คุณดิ้นรนขัดขืน คุณแกะโรคออกมาไม่ได้หรอก หมอยังแกะออกมาไม่ได้เลย …
- การฝึกสติกับผู้ป่วยมะเร็งการแพทย์แผนตะวันตกได้นำการฝึกสติ และสมาธิมาใช้กับผู้ป่วยมะเร็ง การฝึกสติ และสมาธิเป็นที่ยอมรับว่ามีผลดีต่อผู้ป่วย อาการเจ็บปวดลดลง คุณภาพชีวิตดีขึ้น จิตใจปลอดโปร่ง โรคมะเร็งดีขึ้น
- สร้างพลังใจให้ตัวเองเมื่อเป็นมะเร็งมาสักระยะ อาจจะมีความรู้สึกหมดพลัง หรือเกิดความเครียดกันไปบ้าง
แต่คุณสามารถ Reboot และสร้างพลังบวกให้กับตัวเองได้ ด้วยงานอดิเรกสร้างสรรค์มากมายมาแนะนำ เพื่อช่วยทำให้คุณผ่อนคลาย และกลับมาสดใสยิ่งกว่าเดิมได้นะ
อาหารการกิน กินอะไรดี
- มาลอง”ฟังเสียงของร่างกาย” กันดู พวกเขาอยากกระซิบบอกอะไรเราบ้างเวลาเรามีอาการปวดท้อง ท้องอืด หรือมีลมในกระเพาะ จุกเสียด แน่นท้องนั้น เราเพิ่งทานอาหารอะไรเข้าไป และมันเคยเกิดขึ้นซ้ำๆ จากอาหารชนิดเดิมๆ ไหม
มาค่อยๆ ได้ยินสิ่งที่ร่างกายกระซิบบอกเรากัน - กินอาหารไม่ดี 10 วัน ก็อาจเกิดเบาหวานและมะเร็งได้กินอาหารไม่ดี 10 วัน ทำให้แบคทีเรียที่ต่อสู้กับโรคอ้วน เบาหวาน และมะเร็ง ล้มหายตายจากไปได้ถึง 40%
มาดูกันว่า เมื่อกินแมคโดนัลด์ต่อเนื่องทุกมื้อเป็นเวลา 10 วัน จะมีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้นบ้างกับแบคทีเรียในลำไส้ . . - อาหารที่ดีกับผู้ป่วยมะเร็งอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็งได้ หรือลดโอาสเกิดมะเร็งได้ เราสามารถเลี่ยงอาหารบางชนิดได้ โดยเสริมสารอหารให้ครบถ้วนจากอาหารอื่นๆ ได้
- อาหารที่ดีต่อผู้มีทวารเทียมผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี 💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง 🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง 💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง 🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
- ไขข้อข้องใจเรื่องอาหาร💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับผู้ป่วยมะเร็ง
💭 อะไรกินได้ กินไม่ได้
💭 อะไรกินแล้วดี
💭 เม็ดเลือดจางทำอย่างไร
💭 ทานแล้วอาเจียนควรทำอย่างไร - ผู้ป่วยระยะประคับประคอง ทานอะไรดีผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี 💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง 🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง 💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง 🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
- อาหารที่ดีต่อผู้ป่วยมะเร็งในแต่ละวิธีรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี 💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง 🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง 💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง 🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
- อาหารที่ดีต่อผู้ป่วยมะเร็งผู้ป่วยมะเร็ง ทานอะไรดี 💭 หลักสำคัญในการทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็ง 🔔 อาหารที่ควรเลี่ยง 💬 คำถามที่พบบ่อย เรื่องอาหารกับมะเร็ง 🎗 กินอย่างไรลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นซ้ำ
- เนื้อสัตว์เป็นสารก่อมะเร็ง ?เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น เบค่อน แฮม ไส้กรอก เป็นสารก่อมะเร็ง เช่นเดียวกับบุหรี่ แร่ใยหิน เหล้า และสารหนู ส่วนเนื้อแดง คือ เนื้อวัว เนื้อแกะ และเนื้อหมูนั้น น่าจะเป็นสารก่อมะเร็ง
- โภชนาการและอาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็งเพื่อให้เข้าใจ เรียนรู้ รับมือได้ทัน กับโรคมะเร็งลำไส้ และถุงทวารเทียม รวมถึงการปรับตัวปรับใจเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสิ่งที่ต้องการให้ช่วยเหลือ
- กินอย่างไร ห่างไกลมะเร็งลำไส้การเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ ลดอาหารก่อโทษ ช่วยป้องกันมะเร็งลำไส้ได้รวมถึงทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้นด้วย เพราะอาหารที่เรากินมีผลต่อ “การขับถ่าย” ซึ่งเกี่ยวข้องกับ “ลำไส้ใหญ่” โดยตรง
- 10 วิธี รับมือกับอาการเบื่ออาหารทำอย่างไรหากผู้ป่วยเบื่ออาหาร ลองมาดูเทคนิคเหล่านี้กัน เพื่อให้ผู้ป่วยอยากอาหารมากขึ้น เพราะโภชนาการที่ดีจะบำรุงร่างกายให้แข็งแรงได้
สูตรอาหารแสนอร่อย
- มาลอง”ฟังเสียงของร่างกาย” กันดู พวกเขาอยากกระซิบบอกอะไรเราบ้างเวลาเรามีอาการปวดท้อง ท้องอืด หรือมีลมในกระเพาะ จุกเสียด แน่นท้องนั้น เราเพิ่งทานอาหารอะไรเข้าไป และมันเคยเกิดขึ้นซ้ำๆ จากอาหารชนิดเดิมๆ ไหม
มาค่อยๆ ได้ยินสิ่งที่ร่างกายกระซิบบอกเรากัน - Cobb salad with Ranch dressing (Healthy)โยเกิร์ตโฮมเมด ไม่ใส่น้ำตาล ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ตัวดีในลำไส้ได้ ทำให้สุขภาพและลำไส้แข็งแรง เสริมภูมิคุ้มกัน
ผักสลัดใช้เป็นคอสหรือผักสลัด หรือพืชหัว หรืออยากใช้อะไรก็ได้แล้วแต่มี ถ้าจะต้มหรือลวกสามารถให้พืชหัว ฟักทอง มะเขือ อะไรๆ แทนได้หมดเลย - ข้าวคลุกขมิ้น หมายเลข 9ข้าวคลุกขมิ้นแสนอร่อย พร้อมเครื่องเคียงเสริมภูมิคุ้มกัน และเพิ่มสารอาหารที่ดีให้ร่างกาย
เพียงแค่ผัดข้าว ผัดเครื่องเคียงหนึ่งอย่าง แล้วจัดวางผักและถั่วเคียงจาน ก็หอมกรุ่น พร้อมทานค่า ^^ - มัฟฟินแป้งข้าวไทย รสมันหวานและพริกสูตรนี้อร่อยมากๆ เป็นหนึ่งในสูตรมัฟฟินแบบคาวที่ได้รับการชมมากที่สุด เมื่อครั้งไปร่วมออกงานเกษตรอินทรีย์ที่อู่ทอง โดยเชฟหนิง ซึ่งได้ทดลองและสนุกกับการลองทำมากๆ
อีกทั้งยังใช้ส่วนผสมที่เป็นมิตรต่อสุขภาพมากๆ ด้วย - ซอสมะเขือเทศโฮมเมด ป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมาก และอื่นๆมะเร็งที่พบบ่อย เมื่อพบในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการผ่าตัด โรคมะเร็งระยะเริ่มต้นส่วนมาก รวมทั้งโรคมะเร็งบางชนิดที่แพร่กระจายแล้ว สามารถที่จะรักษาให้หายขาดได้
ชวนทำ . . . ดีต่อใจ
เราสามารถชวนผู้ป่วยทำอะไรให้มีพลังชีวิตขึ้นมาได้
ทั้งนี้คอยฟังและสังเกตผู้ป่วยด้วยว่าดีต่อเขาจริงไหม ให้ผู้ป่วยทำด้วยใจที่เบิกบาน ไม่ต้องบังคับ แค่ชวนทำ
หากไม่ถูกจริตกับผู้ป่วย ก็ลองเปลี่ยนเป็นอย่างอื่นได้ เรามีตัวอย่างให้ลองชวนทำดูนะ
- ฟื้นฟูตัวเองด้วยพลังจากธรรมชาติกิจกรรมที่พาไปพบความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างตัวเองและพลังธรรมชาติ ซึ่งเป็นพลังงานแห่งการเกื้อกูลและเยียวยา
คุณสามารถลองฝึกตามได้เลย
หากเคยฝึกแล้ว อยากทบทวน คลิกตรงนี้ได้เลย - 15° ชวนทำ “งานอดิเรก” ในดวงใจให้โอกาสตัวเองได้ทำสิ่งที่ชอบหรือผ่อนคลาย เช่น อ่านหนังสือ ฟังดนตรี ปลูกต้นไม้ ทำงานคราฟต์ หรืออื่นๆ อีกมากมาย
เพราะการดูแลความรู้สึกและจิตใจเป็นสิ่งที่สำคัญไม่แพ้การดูแลร่างกาย - 14° Reflection : ทบทวน เพื่อดูแลใจการทบทวนเป็นสิ่งที่ทำได้ในทุกๆ ช่วงของชีวิต เพราะเป็นสิ่งหนึ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์มากในการดูแลตัวเอง รวมถึงช่วยทำให้เรารู้จักตัวเองมากขึ้น และพัฒนาตัวเองได้อีกด้วย
- ภาวนาการภาวนามีหลายรูปแบบ แล้วแต่ว่าใครถูกจริตแบบไหน ปฏิบัติแบบไหนแล้วมีความก้าวหน้าในจิตใจ ปล่อยวางได้ ใจโล่ง โปร่ง สบาย เห็นความคิดที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป โดยไม่ยึดติดว่าดีหรือไม่ดี เรารวบรวมการภาวนาแบบต่างๆมาให้ได้ลองกัน
- เขียน สร้างพลังใจการเขียนเพื่อเข้าใจตัวเอง ช่วยให้เราได้ค้นหา ทำความรู้จัก และเปิดรับสภาวะอารมณ์ของตัวเอง สามารถจัดการความรู้สึกของตัวเองได้ดีขึ้น
- ดูหนัง สร้างแรงบันดาลใจการดูหนังช่วยให้ผ่อนคลาย และสร้างแรงบันดาลใจได้ด้วย การปลุกพลังให้อยากลงมือทำ จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีกับตัวเองได้ ส่วนผู้ดูแลก็ได้เติมพลัง ได้แรงบันดาลใจบางอย่างด้วยเช่นกัน
- ปลูกต้นไม้· เอาต้นไม้ประดับห้องมาประดับใจ · เด็ดผักมาทำกับข้าว · ตื่นเช้า เด็ดใบไม้มาทำชาหอมกรุ่น บำรุงร่างกาย ชุบชูใจ
- สร้างพลังใจให้ตัวเองเมื่อเป็นมะเร็งมาสักระยะ อาจจะมีความรู้สึกหมดพลัง หรือเกิดความเครียดกันไปบ้าง
แต่คุณสามารถ Reboot และสร้างพลังบวกให้กับตัวเองได้ ด้วยงานอดิเรกสร้างสรรค์มากมายมาแนะนำ เพื่อช่วยทำให้คุณผ่อนคลาย และกลับมาสดใสยิ่งกว่าเดิมได้นะ
Palliative Care
- การช่วยเหลือทางจิตใจแก่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายมีหลายสิ่งที่ผู้อยู่รอบข้างสามารถทำได้เพื่อให้ความช่วยเหลือทางจิตใจแก่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายเผชิญกับความตายอย่างสงบได้
ทั้งญาติมิตร แพทย์ พยาบาล ล้วนช่วยผู้ป่วยได้หมดเลย - หนังสือ สูญเสีย ไม่เสียศูนย์ความสูญเสีย (Loss) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอ แต่เราสามารถดูแลความโศกเศร้าจากการสูญเสีย (Grief) ไม่ให้เสียศูนย์มากเกินไปได้
- ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะใกล้ตาย“ในคัมภีร์พุทธศาสนา พูดถึงเสมอว่า อย่างไรเป็นการตายที่ดี ท่านมักใช้คำสั้นๆ ว่า “มีสติไม่หลงตาย” และที่ว่าตายดีนั้น ไม่ใช่เฉพาะตายแล้วจะไปสู่สุคติเท่านั้น แต่ขณะที่ตายก็เป็นจุดสำคัญ ที่ว่าต้องมีจิตใจที่ดี คือมีสติไม่หลงตาย”
สื่อแนะนำ
- The Last Life Lesson | ‘ความเจ็บปวดและความทรมานครั้งสุดท้าย’เรียนรู้วิธีการจัดการความเจ็บปวดอย่างถูกวิธี
ลดความเจ็บปวดด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งการให้มอร์ฟีน การหยุดยา อดน้ำอดอาหาร ที่ช่วยในการบรรเทาความปวดที่เกิดขึ้น - Cells at workแนะนำการ์ตูนสนุกๆ ที่ทำให้เข้าใจว่าเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้ามา หรือเกิดสิ่งผิดปกติขึ้นในร่างกาย เหล่าเซลล์ต่างๆ ในร่างกายทำงานกันอย่างไร !
- หนังสือเสียงหนังสือดีหลายๆ เล่มของ Peaceful Death มาในรูปแบบหนังสือเสียงอบอุ่นใจ ให้สะดวกฟังกันมากขึ้นแล้ว
- หนังสือ สูญเสีย ไม่เสียศูนย์ความสูญเสีย (Loss) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอ แต่เราสามารถดูแลความโศกเศร้าจากการสูญเสีย (Grief) ไม่ให้เสียศูนย์มากเกินไปได้
- หนังสือ ทำความรู้จักโรคมะเร็งกันเถอะหนังสืออ่านง่าย เป็นกันเอง ทำให้เข้าใจโรคมะเร็ง การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นมะเร็ง และการป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากโรคมะเร็ง . . .
องค์กรที่น่ารู้จัก
- สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทยพอเป็นมะเร็งแล้ว ก็มีหลายเรื่องพื้นฐานให้ทำความเข้าใจ แนะนำให้ค่อยๆสะสมแต้ม ทำความเข้าใจไปทีละอย่าง สมาคมโลหิตวิทยาฯ ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเลือด และมะเร็งโรคเลือดไว้ให้เข้าใจได้ทันที
- เยือนเย็น วิสาหกิจเพื่อสังคมให้คำปรึกษาสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะลุกลามและครอบครัว ดูแลผู้ป่วยที่เลือกใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพที่บ้าน จนถึงการตายดีที่บ้าน
- เว็บ เบาใจเว็บไซต์สนับสนุนการวางแผนดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) และการดูแลแบบประคับประคอง ผ่านการให้ความรู้ เครื่องมือและสื่อการเรียนรู้อันหลากหลาย
- ชีวามิตรศูนย์รวมข้อมูลและนําทางเลือกให้ทุกคนสามารถเข้าใจและเข้าถึงคุณภาพชีวิตระยะสุดท้ายอย่างเท่า เทียมและเท่าทัน ตั้งแต่ยังมีสุขภาพดีจนกระทั่งเข้าสู่สภาวะพึ่งพิงและเข้าสู่ระยะท้ายของชีวิตอย่างสงบและ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- Peaceful DeathPeaceful death คือกลุ่มเพื่อนกิจกรรม ทำงานสนับสนุนการอยู่และตายดี มีเครื่องมื่อ สื่อที่น่าสนใจมากมาย เช่น หนังสือภาพประกอบสวยงาม อ่านง่าย ไพ่ เนื้อหาในเพจและเว็บไซต์ก็ดีมาก