หนังสือ สูญเสีย ไม่เสียศูนย์

สูญเสีย ไม่เสียศูนย์

บทเรียนการดูแลความสูญเสียหลายมุมมอง

“สูญเสีย” แต่ “ไม่เสียศูนย์” คงจะเป็นใจความสําคัญของหนังสือเล่มนี้ ที่ต้องการจะสื่อว่า ความสูญเสีย (Loss) ที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอ แต่เราสามารถดูแลความโศกเศร้าจากการสูญเสีย (Grief) ไม่ให้เสียศูนย์มากเกินไปได้

บุคลากรสุขภาพจะสามารถดูแลความสูญเสียของครอบครัวได้ดีขึ้น เมื่อเราสามารถดูแลรักษาจิตใจของตัวเองจากการทํางานดูแลแบบประคับประคองได้ดีเช่นกัน

คำนิยม โดย รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
นายกสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย

หนังสือที่เกิดจากการถอดเทป Live series ทั้ง 3 ครั้ง ในหัวข้อ Grief & Loss และเรียบเรียงคําพูดให้ออกมาในรูปแบบงานเขียนที่เข้าใจได้ง่าย และได้รับความกรุณาจากวิทยากรผู้ร่วมสนทนาช่วยปรับเนื้อหาและร่วมเขียนเพิ่มเติมให้อ่านได้ง่ายขึ้น

อ่านหนังสือได้ที่

รับหนังสือสูญเสียไม่เสียศูนย์ได้ที่ร้านเบาใจ

https://shopee.co.th/baojai_shop/13602889108

หนังสือเล่มนี้ได้รับการสนับสนุนการจัดพิมพ์โดย คุณอัจฉรา โชติวัฒนะพันธุ์
ห้องเรียน Palliative Care ประสงค์ให้ผู้ต้องการหนังสือเล่มนี้ สามารถรับหนังสือได้ท่านละ 1 เล่ม
โดยขอให้ท่านสมทบค่าหีบห่อเล่มละ 9 บาท และค่าจัดส่งตามเกณฑ์ของบริษัทขนส่ง

ดูสื่อการเรียนรู้อื่นๆ ได้ที่

https://shp.ee/rsgjtyc

อ่านออนไลน์ ได้ที่

http://online.anyflip.com/jqakd/nwne/mobile/index.html

ผู้เขียน

  • นพ.ฐากูร กาญจโนภาศ และ
  • พระจิตร์ จิตฺตสํวโร
  • รศ.นพ.พิชัย อิฏฐสกุล
  • วรรณา จารุสมบูรณ์
  • อรทัย ชะฟู

จัดพิมพ์โดย ห้องเรียน Palliative Care

แนะนำหนังสือ สูญเสียไม่เสียศูนย์
จากไลฟ์ของ Peaceful Death

Live พูดคุย – สูญเสียไม่เสียศูนย์

ขอเชิญชมกิจกรรมแจกหนังสือ สูญเสีย ไม่เสียศูนย์ บทเรียนการดูแลความสูญเสียหลากหลายมุมมอง หนังสือที่เกิดจากการถอดเทป Live series ทั้ง 3 ครั้ง ในหัวข้อ Grief & Loss และเรียบเรียงคําพูดให้ออกมาในรูปแบบงานเขียนที่เข้าใจได้ง่าย และได้รับความกรุณาจากวิทยากรผู้ร่วมสนทนาช่วยปรับเนื้อหาและร่วมเขียนเพิ่มเติมให้อ่านได้ง่ายขึ้น ผู้เขียน นพ.ฐากูร กาญจโนภาศ และ พระจิตร์ จิตฺตสํวโร รศ.นพ.พิชัย อิฏฐสกุล วรรณา จารุสมบู��ณ์ อรทัย ชะฟู “สูญเสีย” แต่ “ไม่เสียศูนย์” คงจะเป็นใจความสําคัญของหนังสือเล่มนี้ ที่ต้องการจะสื่อว่า ความสูญเสีย (Loss) ที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอ แต่เราสามารถดูแลความโศกเศร้าจากการสูญเสีย (Grief) ไม่ให้เสียศูนย์มากเกินไปได้ และบุคลากรสุขภาพจะสามารถดูแลความสูญเสียของครอบครัวได้ดีขึ้น เมื่อเราสามารถดูแลรักษาจิตใจของตัวเองจากการทํางานดูแลแบบประคับประคองได้ดีเช่นกัน คำนิยม โดย รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล นายกสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย จัดพิมพ์โดย ห้องเรียน Palliative Care ขอเชิญติดตามก���จกรรมแนะนำหนังสือและแนะนำวิธีรับหนังสือสูญเสียไม่เสียสูญได้ ในวันที่ 4 กันยายน 2564 เวลา 19.00 – 19.30 น. ทาง Facebook และ Youtube Live ของ Peaceful Death

Posted by Peaceful Death on Saturday, 4 September 2021
-+=